ระบบโครงสร้างของสถานีวิทยุชุมชน

                        ระบบโครงสร้างของสถานีวิทยุชุมชน
1. ควรอยู่ในแนวนอน เน้นการปรึกษาหารือมากกว่าการสั่งการ
2.เน้นการกระจายความรับผิดชอบ แบ่งงานกันทำ
3.คณะกรรมการฯ ทำหน้าที่กำหนดนโยบาย ผังรายการ บริหารจัดการและผลิตรายการ
4.เป็นโครงสร้างที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อน มีความยืดหยุ่น เพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความจำเป็น
5.ไม่ใช่โครงสร้างเชิงอำนาจ
6.เป็นโครงสร้างที่เน้นการมีส่วนร่วมและเชื่อมโยงกับทุกภาคส่วน โดยมีตัวแทนจากกลุ่มต่างๆ ในชุมชนร่วมเป็นคณะกรรมการและเป็นอาสาสมัคร
7.แบ่งบทบาทหน้าที่ตามความจำเป็น
8.เน้นระบบอาสาสมัคร
ระบบบริหารสถานี
         การบริหารที่สำคัญ คือการบริหารแบบประชาธิปไตย โดยมีการเลือกตั้งผู้แทนกลุ่มต่างๆ ในชุมชนร่วมเป็นคณะกรรมการวิทยุบุมชนและให้ทุกฝ่ายทุกส่วนบริหารจัดการสถานีวิทยุชุมชนร่วมกัน โดยยืดหลักการบริหารที่เป็นอิสระ ปราศจากการครอบงำกันเองภายในคณะกรรมการและอิทธิพลจากภายนอกสถานี เช่น นักการเมือง และกลุ่มทุนต่างๆ

สถานที่ตั้ง
   ต้องเป็นสถานีวิทยุที่อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ตัวอย่างเช่น สถานีวิทยุชุมชนปกป้องสถาบัน FM 93.75 MHz ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 555 หมู่ 16 บ้านไทยสมบูรณ์ ตำบล ประทาย อำเภอ ประทาย จังหวัด นครราชสีมา
ผังรายการออกอากาศ
  ความสำคัญของผังรายการ
1.ความสำคัญต่อการบริหารงานสถานี
2.ความสำคัญต่อการผลิตรายการ
3.ความสำคัญต่อผู้ฟัง ยกตัวอย่างผังรายการของสถานีวิทยุชุมชนเมืองชลบุรี




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การทำงานของบล็อกไดอะแกรมเครื่องรับวิทยุAM

การทำงานบล็อกไดอะแกรมของเครื่องส่งวิทยุ AM , FM

การทำงานบล็อกไดอะแกรมวงจรเครื่องรับ - ส่งวิทยุสื่อสาร