บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2017

ระบบโครงสร้างของสถานีวิทยุชุมชน

รูปภาพ
                        ระบบโครงสร้างของสถานีวิทยุชุมชน 1. ควรอยู่ในแนวนอน เน้นการปรึกษาหารือมากกว่าการสั่งการ 2.เน้นการกระจายความรับผิดชอบ แบ่งงานกันทำ 3.คณะกรรมการฯ ทำหน้าที่กำหนดนโยบาย ผังรายการ บริหารจัดการและผลิตรายการ 4.เป็นโครงสร้างที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อน มีความยืดหยุ่น เพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความจำเป็น 5.ไม่ใช่โครงสร้างเชิงอำนาจ 6.เป็นโครงสร้างที่เน้นการมีส่วนร่วมและเชื่อมโยงกับทุกภาคส่วน โดยมีตัวแทนจากกลุ่มต่างๆ ในชุมชนร่วมเป็นคณะกรรมการและเป็นอาสาสมัคร 7.แบ่งบทบาทหน้าที่ตามความจำเป็น 8.เน้นระบบอาสาสมัคร ระบบบริหารสถานี          การบริหารที่สำคัญ คือการบริหารแบบประชาธิปไตย โดยมีการเลือกตั้งผู้แทนกลุ่มต่างๆ ในชุมชนร่วมเป็นคณะกรรมการวิทยุบุมชนและให้ทุกฝ่ายทุกส่วนบริหารจัดการสถานีวิทยุชุมชนร่วมกัน โดยยืดหลักการบริหารที่เป็นอิสระ ปราศจากการครอบงำกันเองภายในคณะกรรมการและอิทธิพลจากภายนอกสถานี เช่น นักการเมือง และกลุ่มทุนต่างๆ สถานที่ตั้ง    ต้องเป็นสถานีวิทยุที่อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ตัวอย่างเช่น สถานีวิทยุชุมชนปกป

หลักการของ cellular radio

หลักการของ cellular radio    ระบบ cellular cell processing, digital cellular protocals, paging systemส3 วิทยุเซลลูลาร์ (Cellular radio) มีชื่อเรียกอีกอย่างอื่น ได้แก่ โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์มือถือ เป็นการใช้คลื่นวิทยุในการรับ-ส่งเสียงสนทนาหรือข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน ดังนี้ ระบบเพจจิง (Paging system) ระบบโทรศัพท์เซลลูลาร์ / เคลื่อนที่ (Cellular / Mobile Phones) ระบบโทรศัพท์ดาวเทียม (Satellite Phones) ระบบโทรศัพท์พีซีเอส (Personal Communications Services) ชนิดของสื่อ ความเร็ว สายยูทีพี (Cat1-5) 1-100 Mbps สาย T-1, T-2, T-3, T-4 1.5, 6.3, 45 และ 274 Mbps สายโคแอกเซียล 1-100 Mbps สายใยแก้วนำแสง 2 Gbps ไมโครเวฟบนดิน 45 Mbps ไมโครเวฟดาวเทียม 50 Mbps วิทยุเซลลูลาร์ 2 Mbps อินฟราเรด 1-4 Mbps ข้อดีคือ ความยืดหยุ่นและเคลื่อนย้ายได้ง่าย ข้อเสียคือ ส่งขอ้มูลได้ช้าและสัญญานถูกรบกวนได้ง่าย ถ้าจะใช้ต่อเน็ตควรใช้สาย UTP ดีกว่าเพราะหาง่ายและถูกแล้วยังส่งข้อมูลได้ดีอีก เซลลูลาร์ (cellular)   ระบบเซลลูล่าร์ ระบบเซลลูล่าร์คือระบบของโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งใช้เทคโนโลยีการสื่อส

หลักการของเครื่องส่งและเครื่องรับระบบ FM

รูปภาพ
หลักการของเครื่องส่งวิทยุระบบ FM     เนื่องจากการสื่อสารวิทยุระบบเอเอ็มนั้นจะถูกรบกวนด้วยสัญญาณรบกวน (Noise) ที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ (Natural statics noise) หรือจากที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-made noise) ทำให้มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางแอมพลิจูดของคลื่นพาหะ ดังนั้นในงานด้านการติดต่อสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุได้พยายามปรับปรุงและค้นคว้าให้การรับ - ส่งมีประสิทธิภาพสูงขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยง หรือป้องกันสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นจึงได้มีผู้คิดค้นการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็มขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาการรบกวนของสัญญาณทางแอมพลิจูดได้เป็นผลสำเร็จ การส่งวิทยุระบบเอฟเอ็มเริ่มต้นคิดค้นโดย พันตรี เอ็ดวิน เอช อาร์มสตรอง (Major Edwin H. Armstrong) แห่ง มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา ในป ค.ศ. 1934 (พ.ศ. 2477) โดยที่อาร์มสตรองเชื่อว์าสัญญาณรบกวนต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างเครื่องส่งและเครื่องรับวิทยุนั้นเป็นการรบกวนทาง แอมพลิจูดของคลื่นวิทยุ ดังนั้นถ้าระบบการผสมคลื่น (Modulation) และระบบการรับเป็นอิสระจากการเปลี่ยนแปลงทางแอมพลิจูดของคลื่นวิทยุแล้วการรบกวนในลักษณะดังกลาวยอมจะไมมีผลตอการติดตอสื่อสาร ซึ่งจะทำใหประ